ลำดับที่ 1
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
|||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
มาเรียนเลขกันเถิด
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
|||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
กรุงเทพฯ
: องค์การค้าของคุรุสภา,
2522
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
เป็นที่สงสัยกันว่าเด็กที่เก่งวิชา
คณิตศาสตร์ ส่วนมากได้จากพรสวรรค์ที่ติดตัวมาแต่เกิด หรือพรแสวงที่ขยันทุ่มเท
คำตอบคือ จำเป็นทั้งสองอย่าง ถึงแม้ว่าเด็กที่มีพรสวรรค์ ก็ไม่สามารถเรียน
คณิตศาสตร์ เก่งได้หากขาดพรแสวง เพราะ คณิตศาสตร์ เป็นวิชาที่ต้องอาศัยชั่วโมงบิน
ผ่านการทำโจทย์ คณิตศาสตร์ มาอย่างโชกโชนถึงจะเรียนเก่งได้ ในทางกลับกัน
หากเด็กที่ขยันทุ่มเท แต่ขาดทักษะในการคิดวิเคราะห์ จับสูตรนู้นมาใส่สูตรนี้
ถึงแม้ว่าจะทำโจทย์พื้นฐานได้ แต่ถ้าเจอโจทย์พลิกแพลงก็ไปไม่รอดเหมือนกัน
ในวันนี้มีเคล็ดลับวิธีเรียน คณิตศาสตร์ ให้เก่ง
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 2
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
รองศาสตราจารย์ ทศพร คล้ายอุดมและ อาจารย์
ดร.สุทิน พูลสวัสดิ์
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์เข้าปริญญาโท
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
หนังสือคณิตศาสตร์เล่มนี้ ในแต่ละบทจะมีเนื้อหาสาระ
ครอบคลุมข้อสอบทั้งหมด ในการเตรียมตัวสอบเข้าปริญญาโทของทุกสถาบัน โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬา นิด้า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหิดล รามคำแหง ฯลฯ หนังสือคณิตศาสตร์เล่มนี้จะช่วยให้มีความเข้าใจคณิตศาสตร์อย่างละเอียด ถูกต้องแม่นยำและรวดเร็วในการตีหาคำตอบโดยอาศัยการเรียนทฤษฎีหรือกฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ แล้วตามด้วยการทำแบบฝึกหัดและทำข้อสอบท้ายบทของแต่ละบทพร้อมกันไป แล้วจึงดูคำเฉลยท้ายเล่ม เพื่อให้เกิดความเคยชินพร้อมที่จะเข้าสอบด้วยความเชื่อมั่น |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 3
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
ประวัติ
เพียรเจริญ
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิต
ม.ต้น ทบทวนได้ง่าย ๆ ใน 8 วัน
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
|||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
ในเล่มแบ่งเนื้อหาหลัก
ๆ ออกเป็น 8
วัน โดยในแต่ละวันใช้เวลาทบทวน 4 ชม. และใน
ชม. สุดท้าย (ชั่วโมงที่ 4 ของแต่ละวัน)
มีแบบฝึกหัดเพื่อทดสอบความเข้าใจด้วย
เนื้อหาในแต่ละวันประกอบด้วย - นิพจน์พีชคณิต - รากที่สอง - สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว - สมการเชิงเส้นสองตัวแปรและสมการกำลังสอง - ฟังก์ชันกำลังสอง - สมบัติของเส้นขนานและวงกลม - ทฤษฎีบทพีทาโกรัส - จำนวนผลของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ความน่าจะเป็น และข้อมูลสถิติ เหมาะสำหรับ - น้อง ๆ ที่กำลังเรียนระดับมัธยมต้น และรู้สึกว่าไม่ค่อยเข้าใจวิชาคณิตศาสตร์เท่าไรนัก - คุณพ่อคุณแม่ ที่อยากรื้อฟื้นความรู้ทางคณิตศาสตร์ เอาไว้สอนน้อง ๆ เองที่บ้าน - คุณครูคณิตศาสตร์ ที่อยากได้เคล็ดลับและวิธีการสอนที่จะทำให้เด็ก ๆ ไม่เบื่อ - ทุกคนที่สนใจหรือชื่นชอบคณิตศาสตร์ และอยากจะรื้อฟื้นความรู้คณิตสมัย ม.ต้น ซึ่งถือเป็นรากฐานความรู้ทางคณิตศาสตร์ค่ะ |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 4
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
ดร.อรรณพ เรืองวิเศษ
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
เก่งเลขให้ถึงแก่น ด้วยทฤษฎีบทคณิตศาสตร์
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
|||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
ทฤษฎีบทก็คือข้อความ (หรือสมการ)
ที่พิสูจน์แล้ว ไม่ว่าใครก็ยอมรับว่าเป็นจริง
และสามารถใช้ในการอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ข้อความอื่นได้
หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมทฤษฎีบททางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ ๆ และเป็นประโยชน์มากกว่า 30
ทฤษฎีบท โดยแต่ละทฤษฎีบทที่กล่าวถึงนอกจากจะมีการพิสูจน์ให้เห็นจริงแล้ว
ยังมีเรื่องราวความเป็นมาของตัวทฤษฎีบทและบรรดานักคณิตศาสตร์ที่ค้นพบและ
อยู่เบื้องหลังทฤษฎีบทเหล่านั้น ซึ่งจะทำให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงที่มาที่ไป
และรู้สึกสนุกไปกับการเรียนรู้
ทั้งยังจะเป็นประโยชน์สำหรับการเรียนคณิตศาสตร์ในระดับสูง ...มาร่วมแกะรอยและพิสูจน์ให้ถึงแก่นแท้
เพื่อความเข้าใจอย่างถึงกึ๋นไปกับทฤษฎีบทคณิตศาสตร์ที่น่าหลงใหลเหล่านี้กัน
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 5
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
วิทยา จันทร์วิรัตนชัย
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์
ฉลาดเกินร้อย สำหรับประถมต้น Level 2
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
อมรินทร์ คอมิค
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
หนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ระดับชั้นประถมศึกษา
6 เล่ม 6 เลเวล
ซึ่งความยากของเนื้อหาจะค่อยๆ เพิ่มขึ้นในแต่ละเลเวล ซึ่งนำเสนอในรูปแบบการ์ตูนลายเส้นน่ารัก สนุกสนาน
ง่ายต่อการเข้าใจของเด็กๆ มีแบบฝึกหัดทบทวนท้ายบทแต่ละบท
เด็กๆจะเอาไว้อ่านทำความเข้าใจก่อนเรียนหรืออ่านเพื่อทบทวนความรู้ที่เรียนมาก็ได้
เหมาะสำหรับการเตรียมความพร้อมก่อนเรียนและทบทวนบทเรียน
คณิตศาสตร์ฉลาดเกินร้อย
Level 2 มีเนื้อหาสุดสนุกดังนี้
- รูปเลขาคณิต
- การคูณและสูตรคูณ - เศษส่วน - ตารางและแผนภูมิภาพ - การวัดความยาว |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 6
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
ฝ่ายวิชาการดอกหญ้าวิชาการ
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
แบบฝึกติวเข้มคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ม.3 เล่ม 2
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
แบบฝึกติวเข้มคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2 เป็นสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง
เป็นลักษณะของการนำเอาการศึกษาตลอดชีวิตมาใช้ ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
เพื่อเพิ่มศักยภาพของเยาวชน ทั้งด้านสติปัญญา ทักษะทางสังคม ร่างกาย
และค่านิยมอันดีงาม หนังสือชุดนี้ประกอบด้วยแบบฝึกหัดและกิจกรรมที่หลากหลาย
ตรงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 เพื่อฝึกทักษะและการนำไปใช้ตามความหมาะสม
ให้มีลักษณะของการบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นได้
กิจกรรมจึงมีความเหมาะสมกับวัยและพัฒนาการ กระตุ้นความสนใจ
และความต้องการของผู้เรียน มีการใช้วิธีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ทดสอบได้ด้วยตนเอง ช่วยในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนได้ตรงตามจุดประสงค์ของการเรียนรู้ - สรุปเนื้อหาประจำหน่วยการเรียนรู้ - แบบฝึกเพื่อเพิ่มพูนทักษะทางคณิตศาสตร์ * อสมการ * ความน่าจะเป็น * สถิติ - พร้อมเฉลยแบบฝึกหัด - เพื่อเพิ่มคะแนนสอบประจำภาค - เพื่อเพิ่มเกรด GPA |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 7
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
ฝ่ายวิชาการดอกหญ้าวิชาการ
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
แบบฝึกติวเข้มคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
ม.5 เล่ม 2
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี
(ไทย-ญี่ปุ่น)
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
แบบฝึกติวเข้มคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 2 เป็นสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง
เป็นลักษณะของการนำเอาการศึกษาตลอดชีวิตมาใช้ ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
เพื่อเพิ่มศักยภาพของเยาวชน ทั้งด้านสติปัญญา ทักษะทางสังคม ร่างกาย
และค่านิยมอันดีงาม หนังสือชุดนี้ประกอบด้วยแบบฝึกหัดและกิจกรรมที่หลากหลาย
ตรงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 เพื่อฝึกทักษะและการนำไปใช้ตามความหมาะสม
ให้มีลักษณะของการบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นได้
กิจกรรมจึงมีความเหมาะสมกับวัยและพัฒนาการ กระตุ้นความสนใจ
และความต้องการของผู้เรียน มีการใช้วิธีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ทดสอบได้ด้วยตนเอง
ช่วยในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนได้ตรงตามจุดประสงค์ของการเรียนรู้ - สรุปเนื้อหาประจำหน่วยการเรียนรู้ - แบบฝึกเพื่อเพิ่มพูนทักษะทางคณิตศาสตร์ * จำนวนเชิงซ้อน *ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น * ความน่าจะเป็น - พร้อมเฉลยแบบฝึกหัด - เพื่อเพิ่มคะแนนสอบประจำภาค - เพื่อเพิ่มเกรด GPA |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 8
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
ดร.อิทธิ ฤทธาภรณ์
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
รวมโจทย์ ปราบเซียนคณิตศาสตร์
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี
(ไทย-ญี่ปุ่น)
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
หนังสือที่รวบรวมโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ที่น่าสนใจจากข้อสอบเข้ามัธยมต้นของประเทศญี่ปุ่น
เป็นโจทย์สนุก ๆ ที่สามารถฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เสริมสร้างจินตนาการ
และทดสอบเชาวน์ไวไหวพริบได้เป็นอย่างดี รวบรวมและเฉลยอย่างละเอียด ตรงประเด็น
ด้วยภาษาง่าย ๆ และแม้จะเป็นโจทย์ที่มาจากข้อสอบเข้ามัธยมต้น
แต่การแก้โจทย์ปัญหาแต่ละข้อต้องอาศัยทักษะทางคณิตศาสตร์หลายด้าน
จึงไม่ได้เหมาะเฉพาะสำหรับเด็กประถมที่จะเตรียมตัวสอบเข้าโรงเรียนมัธยมที่มีชื่อเสียงเท่านั้น
แต่ยังเหมาะสำหรับนักเรียนระดับมัธยมไปจนถึงระดับอุดมศึกษา
ที่ต้องการเตรียมตัวสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ในระดับต่าง ๆ
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 9
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
ดร.ธนารักษ์ ธีระมั่นคง,
ดร.รัตนา รุจิรวนิช,วันชัย อุดมกิจวณิชย์ |
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
เชาวน์คณิต พิชิตเซียน
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี
(ไทย-ญี่ปุ่น)
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
เป็นโจทย์ปริศนาคณิตศาสตร์ที่พิมพ์จำหน่ายมาแล้วกว่า 130,000
เล่มในญี่ปุ่น รวบรวมโจทย์เด็ดกว่า 60 ข้อ
ที่ผ่านการคัดสรรมาแล้วจากกว่า 300 ข้อ
โดยปรมาจารย์ชื่อดังด้านปริศนาเลขคณิตแห่งสถานีโทรทัศน์ NHK มีทั้งโจทย์ที่คิดขึ้นใหม่และโจทย์ดั้งเดิมที่มีความคลาสสิก โจทย์สั้น
จำง่าย คำตอบชัดเจนตรงประเด็น
สร้างความสนุกสนานและประทับใจให้ทั้งผู้ทายและผู้ตอบ
ขอเชิญทุกท่านลองมาทดสอบความเป็นอัจฉริยะด้านคณิตศาสตร์ ฝึกพลิกแพลงจินตนาการในการแก้โจทย์ปัญหา
และมากระตุ้นให้เกิดสัญชาตญาณทางคณิตศาสตร์ไปพร้อมกัน
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 10
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
ดร.บัณฑิต โรจน์อารยานนท์
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
ฟิตทักษะคณิต พิชิตทุกโจทย์สอบเข้า
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี
(ไทย-ญี่ปุ่น)
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
ฟิตให้พร้อม อุ่นเครื่องก่อนลงสนาม
ด้วยแนวข้อสอบที่ครบทุกเรื่องหลักของวิชาคณิตศาสตร์ระดับประถมถึงมัธยมปลายเปรียบเทียบกันข้อต่อข้อ
ระหว่าง “โจทย์สอบเข้ามัธยมต้น” กับ
“โจทย์สอบเข้ามหาวิทยาลัย”
ทั้งเรื่อง จำนวนและตัวเลข สูตร-สมการ เรขาคณิต วิธีเรียงสับเปลี่ยน-การจัดหมู่ ตรรกะ และอัลกอริทึม ให้เห็นว่าจากวิชาเลขระดับประถม ก็ผสมต่อยอดไปใช้แก้โจทย์ระดับ ม.ปลายได้เชื่อมโยงให้เห็นความสัมพันธ์ของคณิตศาสตร์ชั้นประถมจนถึงมัธยมปลายเป็นการทบทวนความรู้และจัดระเบียบความเข้าใจ เนื้อหาที่ใช้ในการแก้โจทย์ทุกรูปแบบ |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 11
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
ณัฐ อุดมพาณิชย์
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
หัวใจคณิตศาสตร์ PAT
1
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
3 / 2554
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
หนังสือเล่มนี้สรุปเนื้อหาตามหลักสูตรกระทรวงฯ
ตั้งแต่ ม.4 – ม.5 – ม.6
ไว้อย่างครบถ้วน ย่อยทุกสิ่งที่ต้องรู้ทั้งหมดให้ง่ายต่อการดูดซับ
กระชับ...ชัดเจน...เข้าใจง่าย เหมาะสำหรับใช้ทบทวนก่อนสอบ PAT 1 สอบหมดของ กสพท. และสอบตรงทุกสถาบัน พร้อมด้วยแนวข้อสอบใหม่สไตล์ PAT
1 เพื่อวัดความพร้อมก่อนลงสนามสอบจริง
อย่าคิดว่าพร้อม...ถ้ายังไม่ได้อ่านเล่มนี้
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 12
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
จุฑารัตน์ ฤทธิ์ฤาชัย ,
ศุภวัลย์ ตันวรรณรักษ์
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
ติวให้เก่งคณิตศาสตร์
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
ร่วมฝึกฝนทักษะคณิตศาสตร์พร้อมกับ คอลิน
โซลาร์ โดโ้ด้ สามสหายจอมป่วนและผองเพื่อนที่ขนความรู้บวกความสนุกมาเพียบ
เนื้อหาในเล่มจะมี
- การบวก - การลบ - การคูณ - การหาร - เศษส่วน - ทศนิยม - ร้อยละ |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 13
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
รศ.ดร.ชลลดา หลวงพิทักษ์
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์และสถิติสำหรับเศรษฐศาสตร์
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
2555
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่เรียบเรียงขึ้นเพื่อใช้อธิบายหลักและวิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติเบื้องต้นหรือสถิติเชิงพรรณาที่จำเป็น
สำหรับการประยุกต์ใช้ทางด้านเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ เหมาะสำหรับนิสิต
นักศึกษาและผู้สนใจทางด้านเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจในชั้นปีที่ 1
ระดับปริญญาตรี เนื้อหาจะเกี่ยวข้องกับฟังก์ชัน
กราฟ สมการ ระบบสมการ เมทริกซ์ ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
อนุพันธ์ ปฎิยานุพันธ์ ปริพันธ์
และสถิติเชิงพรรณาที่เป็นพื้นฐานสำหรับการนำไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาทฤษฎีเศรษฐศาสตร์และการศึกษาเศรษฐศาสตร์เชิงปริมาณในขั้นสูงต่อไป
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 14
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
ธนวัตร
(สันติ) สนทราพรพล
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์ช่วงชั้นที่
4 (ม.4-6)เล่ม 4 สำหรับนักเรียนชั้น ม. 5 เล่ม 2
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
Science
cencer , สนพ.
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
นำเสนอเนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2554
สำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 4 มัทธยมศึกษาปีที่ 5
ด้วยเนื้อหาครบถ้วน
โดยแต่ละหน่วยการเรียนรู้ได้สรอดแทรกกิจกรรมโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ที่สำคัญพร้อมทั้งแบบทดสอบและตัวอย่างที่หลากหลายให้ฝึกปฏิบัติสำหรับทบทวนความรู้ความเข้าใจ
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 15
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
- นายนิติกร ระดม
- นางสาวน้ำเพชร ชาญจึงถาวร - รศ.ดร.สิริพัชร์ เจษฎาวิโรจน์ - นางสาวกิ่งแก้ว เลิศประเสริฐรัตน์ บรรณาธิการ รศ.ดร.รุจิร์ ภู่สาระ |
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์ ป.1 (แบบฝึกหัด)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาชั้นพื้นฐาน พศ.2551 |
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
บริษัท อักษรเจริญทัศน์ จำกัด
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
หนังสือแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ ป.1
เล่มนี้ ถูกจัดทำขึ้นเพื่อให้ใช้ควบคู่ไปกับหนังสือเรียน
คณิตศาสตร์ ป.1 สำหรับใช้มนการเรียนการสอนชั้นประถมศึกษาปีที่
1 เพื่อพัฒนาความรู้และปูพื้นฐานทางการเรียนคณิตศาสตร์
ให้ผู้เรียนมีความเข้าใจในเนื้อหาสาระคณิตศาสตร์มากขึ้น แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ ป.1 เล่มนี้
ได้นำเสนอในรูปแบบที่ฝึกฝนผู้เรียนในด้านทักษะการคิดคำนวณ
ด้านการแก้ไขปัญหาทางคณิตศาสตร์ ด้านการใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
ด้านการใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
และเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 16
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
มมฐ.หลักสูตรแกนกลาง 51
คณิตศาสตร์
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
หนังสือเรียนแม่บทมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลางฯ
ปี 51
คณิตศาสตร์ ป.4
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
สื่อการเรียนรู้ แม่บทมาตรฐาน
หลักสูตรแกนกลางฯ New Aha! English ป.4 เล่มนี้
จัดทำขึ้นให้สอดคล้องกับสาระและมารฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ในสาระที่ 1-4 ภายในเล่มนำเสนอการจัดการการเรียนการสอนเป็น
Module ครบถ้วนตามมาตรฐานตัวชี้วัดชั้นปี
และสาระการเรียนรู้แกนกลาง
โดยเน้นการออกแบบกิจกรรมให้สัมพันธ์กับธรรมชาติการเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มสาระ
และความสนใจของผู้เรียนแต่ละคนในแต่ละหน่วย
ผู้เรียนจะได้รับความรู้รวมทั้งฝึกปฎิบัติกิจกรรมต่างๆ
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจจนกระทั่งสามารถจัดทำชิ้นงานเพื่อเก็บเป็นหลักฐานแสดงการบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชี้วัดและประเมินคุณภาพผู้เรียนตามเกณฑ์ของ สมศ.
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 17
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
Stuart J. Murphy
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
หนังสือคณิตศาสตร์เด็ก (7+
ขวบ) วัน ชั่วโมง นาที วินาที Game Time
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
ให้น้องสนุกกันนิทานพร้อมเรียนรู้จำนวนวันใน
1
สัปดาห์ จำนวนชั่วโมงใน 1 วัน นาที
และวินาที และเศษส่วน (Quarter = 1/4 of hour)ภาพในนิทานสื่อค่อนข้างดีและชัดเจนเข้าใจง่าย
ท้ายเล่มมีคำแนะนำและกิจกรรมให้คุณพ่อคุณแม่ลองสอนน้องด้วยค่ะข้อดีของหนังสือเล่มนี้คือการสอดแทรกการสอนไปในนิทานได้อย่างกลมกลืน
ทำให้การเรียนคณิตศาสตร์เป็นเรื่องง่ายและสนุก
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 18
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
|||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
สมการเชิงอนุพันธ์ 1
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
กรุงเทพฯ : วงตะวัน,
2542
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
เป็นรูปแบบสมการหนึ่งในคณิตศาสตร์ เป็นพื้นฐานที่สำคัญในสาขาคณิตศาสตร์ประยุกต์ ในทางวิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เพราะว่ากฏเกณฑ์และปัญหาต่างๆ
ในสาขาวิขาเหล่านี้ล้วนพิจารณาเป็นสมการคณิตศาสตร์ที่อยู่ในรูปของสมการเชิงอนุพันธ์แทบทั้งสิ้น
เช่นกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ปัญหาของการนำความร้อนในแท่งโลหะ การหาปะจุหรือกระแสในวงจรไฟฟ้า
เหล่านี้เป็นต้น
-สมการแบบแยกตัวแปรได้ -สมการเอกพันธ์ -สมการที่ลดรูปเป็นสมการเอกพันธ์ได้ -สมการแม่นตรง -สมการเชิงเส้น -สมการของแบร์นูลลี -สมการของริกคาตี |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 19
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
|||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์เชิงตัวเลข สำหรับคอมพิวเตอร์
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
[สงขลา] : ภาควิชาคณิตศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2528
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาคณิตศาสตร์เชิงวิทยาการคอมพิวเตอร์
หรือชื่อทางภาษาอังกฤษว่า : Bachelor
of Science Program in Mathematics with Computer Science
คือ เรียกย่อๆๆว่า MC นั้นเกิดขึ้นจากหลักสูตรนี้ได้คำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว การสร้างบุคลากรที่มีความสามารถทางด้านกระบวน การคิดเชิงวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์และแก้ปัญหาเชิงบูรณาการความรู้และเทคโนโลยีจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งงในปัจจุบันน |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 20
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
|||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรรม เล่ม 1
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
กรุงเทพฯ : ภาควิชาคณิตศาสตร์
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ,
[2529?]
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
วิศวกรรมศาสตร์คือการประยุกต์ใช้หลักการทางวิทยาศาตร์อย่างสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบและพัฒนาโครงสร้าง,
เครื่องจักร, เครื่องมือ, หรือกระบวนการผลิต
หรืองานเพื่อการใช้ประโยชน์สิ่งเหล่านี้โดดๆหรือประยุกต์เข้าด้วยกัน
หรือเพื่อการสร้างหรือใช้งานสิ่งเหล่านั้นด้วยความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่ใช้งานอย่างหมดจด
หรือเพื่อการพยากรณ์พฤติกรรมของสิ่งเหล่านั้นภายใต้สภาวะที่เจาะจง
สิ่งที่กล่าวมาทั้งหมดนี้จักต้องคำนึงถึงความมุ่งหมายในการใช้งาน, ความคุ้มค่าในการปฏิบัติการ แลความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพยสินด้วย
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 21
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 2
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา,
2554.
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
บทที่ 1 การอินทิเกรต
1.1 การอินทิเกรดเบื้องต้น 1.2 การอินทิเกรดโดยการแทนค่า 1.3 การอินทิเกรตฟังก์ชั่นตรีโกณมิติ 1.4 การอินทิเกรตฟังก์ชั่นตรีโกณ 1.5 การอินทิเกรตโดยการทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์ 1.6 การอินทิเกรตโดยการแยกเศษส่วนย่อย 1.7 การอินทิเกรตทีละส่วน (By Parts) 1.8 การอินทิเกรตไม่ตรงแบบ 1.9 การหาปริมาตรรูปทรงตัน
บทที่ 2 เรขาคณิตวิเคราะห์
2.1 เส้นตรง 2.2 ระยะทางระหว่างจุดสองจุด 2.3 การเขียนกราฟของฟงก์ชั่นที่ไม่เป็นเชิงเส้น 2.4 วงกลม 2.5 พาราโบลา 2.6 วงรี 2.7 ไฮเพอร์โบลา บทที่ 3 สมการเชิงอนุพันธ์ 3.1 นิยามเบื้องต้น 3.2 คำตอบของสมการเชิงอนุพันธ์ 3.3 สมการแบบแยกตัวแปรได้ 3.4 สมการเอกพันธ์ 3.5 อนุพันธ์ย่อย 3.6 สมการแบบแน่นอน 3.7 สมการเชิงเส้น บทที่ 4 เมตริกซ์และดีเทอร์มิแนนท์ 4.1 นิยามโดยทั่วไปและคุณสมบัติของเมตริกซ์ 4.2 ดีเทอร์มิแนนท์ 4.3 เมตริกซ์ผกผัน 4.4 กฎของคราเมอร์ 4.5 เมตริกซ์ชนิดพิเศษ บทที่ 5 พีชคณิตเวกเตอร์ 5.1 เวกเตอร์ในสามมิติ 5.2 ผลคูณสเกลาร์ 5.3 ผลคูณแวกเตอร์ 5.4 ผลคูณของสามเวกเตอร์ บทที่ 6 จำนวนเชิงซ้อน 6.1 นิยามพื้นฐาน 6.2 พีชคณิตของจำนวนเชิงซ้อน 6.3 ค่าสัมบูรณ์หรือโมดูลัสของจำนวนเชิงซ้อน 6.4 การเขียนจำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว 6.5 การหาค่าของ Zn ในระบบของเชิงขั้ว 6.6 การหารากที่ n ของจำนวนเชิงซ้อน |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
เป็นหนังสือที่ใช้ประกอบการเรียนวิชาแคลคูลัส
3
ของนักศึกษาหลักสูตรคณิตศาสตร์ประยุกต์ และ คบ.คณิตศาสตร์
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 22
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
คณะการบริหารวิชาบูรณาการหมวดศึกษาทั่วไป
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
การจำแนกประเภทของคณิตศาสตร์
จำนวนและสัญลักษณ์ โครงสร้างทางคณิตศาสตร์ การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์
การแก้ปัญหาด้วยวิธีทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น สถิติในชีวิตประจำวัน
การทำงานของคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ในการทำงาน
การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างมีประสิทธิภาพ
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 23
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์สำหรับสังคมศาสตร์.
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซตและตรรกศาสตร์
ระบบจำนวน เส้นตรง ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ชนิดของฟังก์ชัน วิธีเรียงสับเปลี่ยน
วิธีจัดหมู่ และปริภูมิตัวอย่าง ความน่าจะเป็น เมทริกซ์และดีเทอร์มินันต์
การโปรแกรมเชิงเส้น คณิตศาสตร์การเงินเบื้องต้น อนุพันธ์ อินทิกรัลและการประยุกต์
การประยุกต์ของอนุพันธ์และสมการเชิงอนุพันธ์อันดับหนึ่ง
ปัญหาการประยุกต์ทางคณิตศาสตร์
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 24
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
ชัยฤทธิ์ สีระบัว.
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์ประยุกต์.
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
ประสานมิตร.
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
คณิตศาสตร์ประยุกต์ (อังกฤษ: applied
mathematics) แตกต่างจากคณิตศาสตร์บริสุทธิ์ (pure mathematics) ตรงที่ จะเริ่มต้นพิจารณาปัญหาในชีวิตจริงก่อน
ไม่ว่าปัญหานั้นจะอยู่ในเรื่องของวิชา หรือ สาขาใดๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา ธรณีวิทยา แพทยศาสตร์ ทันตแพทย์ศาสตร์ เภสัชศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ คอมพิวเตอร์ฯลฯ หรือแม้แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นในสาขาวิชาคณิตศาสตร์เอง แล้วจากนั้น
จะนำความรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ที่มีอยู่แล้ว หรืออาจจำเป็นจะต้องสร้างใหม่ขึ้นมา
เพื่อจะใช้แก้ปัญหาเหล่านั้น
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 25
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
เลิศ สิทธิโกศล
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์พื้นฐาน
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
สกายบุกส์ จำกัด
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
คณิตศาสตร์
เป็นศาสตร์ที่มุ่งค้นคว้าเกี่ยวกับ
โครงสร้างนามธรรมที่ถูกกำหนดขึ้นผ่านทางกลุ่มของสัจพจน์ซึ่งมีการให้เหตุผลที่แน่นอนโดยใช้ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์
และสัญกรณ์คณิตศาสตร์ เรามักนิยามโดยทั่วไปว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบและโครงสร้าง,
การเปลี่ยนแปลง, และปริภูมิ กล่าวคร่าวๆ
ได้ว่าคณิตศาสตร์นั้นสนใจ "รูปร่างและจำนวน"
เนื่องจากคณิตศาสตร์มิได้สร้างความรู้ผ่านกระบวนการทดลอง
บางคนจึงไม่จัดว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 26
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
สุเมธ สมภักดี
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
สถิติคณิตศาสตร์
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
ประกายพรึก
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
1. ตัวเลขแทนปริมาณจำนวนข้อมูล
หรือข้อเท็จจริงของสิ่งต่าง ๆ ที่คนโดยทั่วไปต้องการศึกษาหาความรู้
เช่นต้องการทราบปริมาณน้ำฝนที่ตกในกรุงเทพมหานครปี 2541 เป็นต้น
2. ค่าตัวเลขที่เกิดจากการคำนวณมาจากกลุ่มตัวอย่าง(Sample) หรือคิดมาจากนิยามทางคณิตศาสตร์ เช่นคำนวณหาค่าเฉลี่ย ค่าความแปรปรวน ค่าที่คำนวณได้เรียกว่าค่าสถิติ ( A Statistic) ส่วนค่าสถิติทั้งหลายเรียกว่า ค่าสถิติหลาย ๆ ค่า (Statistics) 3. วิชาการแขนงหนึ่งที่จัดเป็นวิชาวิทยาศาสตร์ และเป็นทั้งวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ และยังหมายรวมถึงระเบียบวิธีการสถิติอันประกอบไปด้วยขั้นตอน 4 ขั้นตอนที่ใช้ในการศึกษาได้แก่
การเก็บรวบรวมข้อมูล(Collection
of Data)
การนำเสนอข้อมูล(Presentation
of Data)
การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis
of Data)
การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis
of Data)
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 27
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
สุศักดิ์ ทองธรรมชาติ
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรไฟฟ้า
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
หนังสือ
คณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรไฟฟ้าสื่อสารเล่มนี้
เขียนขึ้นจากข้อเสนอของคณะกรรมการวิชาการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ว.ส.ท.) เมื่อปี พ.ศ. 2535 และได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการอำนวยการของ
ว.ส.ท. ใน พ.ศ. 2536 ให้จัดพิมพ์ได้
การสื่อสารนับว่ามีความสำคัญมากตั้งแต่ระดับครอบครัวไปจนถึงระดับนานาชาติ และเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของชาติ การสื่อสารมีได้หลายรูปแบบ เช่นการสื่อสารระหว่างบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดกัน และการสื่อสารระหว่างบุคคลที่อยู่กันคนละประเทศหรือคนละทวีป เป็นต้น แต่ที่วิศวกรไฟฟ้าสนใจก็คือการสื่อสารที่ใช้สัญญาณไฟฟ้ามาช่วยในการติดต่อถึงกัน และอาศัยคณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้าเป็นพื้นฐานสำหรับการศึกษาทำความเข้าใจ ในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง การวิเคราะห์ระบบสื่อสารส่วนใหญ่จะใช้การวิเคราะห์ฟูริเยร์และผลการแปลงลาปลาซ แต่ในการศึกษาระบบสื่อสารสมัยใหม่นั้น ทั้งข่าวสารและสัญญาณรบกวนถือว่าเป็นปรากฏการณ์สุ่ม การวิเคราะห์ระบบสื่อสารสมัยใหม่จึงจำเป็นต้องใช้ความรู้ทางด้านทฤษฎีความน่าจะเป็นเพิ่มขึ้นมา บูรพาจารณ์ที่ถือได้ว่าเป็นผู้วางพื้นฐานการสื่อสารสมัยใหม่ของโลกก็คือ N.Wiener และ C.E.Shannon แห่ง MIT (Massachusetts Institute of Technology) |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 28
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
สิริพร ทิพย์คง
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
ในการแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ถือว่ามีความสำคัญมากที่สุด คือ ขั้นการวางแผนแก้ปัญหา เพราะ
ผู้แก้ต้องใช้ทั้งทักษะ ความรู้ ความสามารถ
และประสบการณ์ที่มีอยู่ประมวลเข้าด้วยกับข้อมูลต่าง ๆ ที่กำหนดในสถานการณ์ปัญหา
เพื่อกำหนดแนวทางหรือยุทธวิธีในการแก้ปัญหา
ซึ่งถ้าผู้เรียนได้รับการฝึกฝนอยู่อย่างสม่ำเสมอจนมีทักษะในการแก้ปัญหาเพียงพอแล้ว
เมื่อต้องเผชิญกับปัญหาอีกก็จะสามารถนำประสบการณ์ที่สั่งสมออกมาปรับใช้ได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับสถานการ์ของปัญหานั้น
ๆ
ปัญหาทางคณิตศาสตร์ปัญหาหนึ่ง ๆ สามารถแก้ได้โดยยุทธวิธีที่หลากหลาย อาจใช้เพียงยุทธวิธีเดียวหรือหลายยุทธวิธีประกอบกันก็ได้ ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าใจยุทธวิธีที่หลากหลาย ในการแก้ปัญหาอย่างลึกซึ้ง และจะต้องสะสมยุทธวิธีต่าง ๆ ไว้ให้มากเพื่อการเลือกนำออกมาใช้อย่างเหมาะสมต่อไป |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 29
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
ชาญชัย สุกใส
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
การวิเคราะห์คณิตศาสตร์
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
คณะวิทยาศาสตรืเทคโนโลยีสถาบันร
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
เป็นวิธีการทางสถิติอย่างหนึ่งที่ใช้ในการจัดข้อมูลที่มีอยู่
หรือที่เก็บรวบรวมมาได้ให้อยู่เป็นกลุ่มๆ เพื่อสะดวกในการวิเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้น
การแจกแจงความถี่ จัดเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
1. การแจกแจงความถี่แบบไม่จัดเป็นอันตรภาคชั้น ใช้กับข้อมูลที่มีค่าสูงสุดและต่ำสุดของข้อมูลไม่แตกต่างกันมากนัก
หรือข้อมูลที่มีค่าของจำนวนที่ต่างกันมีไม่มาก 2. การแจกแจงความถี่แบบจัดเป็นอันตรภาคชั้น ใช้กับข้อมูลที่มีค่าสูงสุดและต่ำสุดของข้อมูลแตกต่างกันมาก
หรือการแจกแจงไม่สะดวกที่จะใช้ค่าสังเกตทุกๆค่า
เพื่อความสะดวกจึงใช้วิธีแจกแจงความถี่ของค่าที่เป็นไปได้แทน
โดยแบ่งค่าที่เป็นไปได้ออกเป็นช่วง หรืออันตรภาคชั้น (Interval)
2.1
ฮิสโทแกรม
ฮิสโตรแกรม เป็นกราฟที่แสดงความถี่ของข้อมูลที่มีความถี่มากๆโดยมีแกนนอนแทนค่าที่เป็นไปได้ของตัวแปร ความกว้างของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแทนความกว้างของอันตรภาคชั้น ส่วนความสูงของรูปสี่เหลี่ยมคือความถี่ของข้อมูล |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 30
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
เพ็ญจันทร์ เงียบประเสริฐ์
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
สถาบันราชภัฏภูเก็ต
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
การจัดการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กควรเน้นการให้เด็กได้มีโอกาสจัดกระทำ
กับวัตถุประสงค์ต่าง ๆ เพราะเด็กในวัยนี้เรียนรู้โดยอาศัยประสาทสัมผัสรับรู้และการเคลื่อนไหว
เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา
การจัดการเรียนรู้เน้นให้เด็กได้พัฒนาประสาทสัมผัสให้มากที่สุด
และกระตุ้นให้เด็กได้คิดและมีโอกาสจัดกระทำ หรือลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
รวมทั้งเปิดโอกาสให้เด็กได้สัมผัสแตะต้อง ได้เห็นสิ่งต่าง ๆ
หรือเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ โดยผ่านประสาทสัมผัสแตะต้อง ได้เห็นสิ่งใหม่ ๆ
ซึ่งวิธีการดังกล่าวจะช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ รอบตัว
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 31
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
สุโขทัยธรรมาธิราช
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์สำหรับสังคมศาสตร์
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซตและตรรกศาสตร์
ระบบจำนวน เส้นตรง ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ชนิดของฟังก์ชัน วิธีเรียงสับเปลี่ยน
วิธีจัดหมู่ และปริภูมิตัวอย่าง ความน่าจะเป็น เมทริกซ์และดีเทอร์มินันต์
การโปรแกรมเชิงเส้น คณิตศาสตร์การเงินเบื้องต้น อนุพันธ์
อินทิกรัลและการประยุกต์ การประยุกต์ของอนุพันธ์และสมการเชิงอนุพันธ์อันดับหนึ่ง
ปัญหาการประยุกต์ทางคณิตศาสตร์
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 32
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
วิจิตรา อุปการนิติเกษตร
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
พิชิตคณิตศาสตร์
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
กรมการศาสนา
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
เริ่มเรียนด้วยความชอบ จะทำให้เรียนด้วยความสุข จากนั้นหมั่นทบทวนสม่ำเสมอ
หากมีข้อสงสัยหรือไม่เข้าใจควรถามอาจารย์ อย่าปล่อยให้ผ่านไป
เพราะจะยิ่งทำให้สับสนมากขึ้น
ทำโจทย์บ่อยๆ ทำให้รู้ความแตกต่างของโจทย์แต่ละแบบ ช่วยตีความโจทย์ได้ง่ายขึ้น ทั้งยังเป็นการฝึกความเร็วและความแม่นยำในการแก้ปัญหา หาความรู้เพิ่มเติม จากตำราหลาย ๆ เล่ม โดยหาโจทย์แปลกใหม่มาลองทำ เพื่อเพิ่มความเชี่ยวชาญ รวมทั้งทำความเข้าใจและจดโน้ตย่อในสาระสำคัญต่าง ๆ จะช่วยให้เสียเวลาทบทวนน้อยลง ทบทวนความรู้กับเพื่อน อธิบายให้กันและกันฟัง ถือเป็นการทบทวนความเข้าใจสำหรับตัวเองด้วย เมื่อจะสอบควรเตรียมทบทวนนิยาม สูตร รวมทั้งวิธีแก้ปัญหาโจทย์ จากนั้นลองลงมือหาคำตอบ เพื่อฝึกความแม่นยำอีกครั้ง |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 33
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
ปิยรัตน์จาตุรันตบุตร
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
หลักการคณิตศาสตร์
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
สถาบันราชภัฏสวนดุสิต
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
นึ่ง ๆ เมื่อออกจากบ้านต้องดูเวลาเท่าใดในการเดินทางและต้องเดินทางไปถึงที่ทำงานภายในเวลาเท่าใด ถ้าซื้อของชิ้นละ 5 บาท ซื้อ 3 ชิ้นจะต้องจ่ายเงินเป็นเท่าไร ต้องได้รับเงินทอนเท่าไร จะเห็นว่าการนับเงิน การซื้อขาย แลกเปลี่ยน ทอนเงิน เวลา เป็นเรื่องของคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเราตั้งแต่ลืมตา ออกจากบ้าน อยู่ที่ทำงานระหว่างเดินทาง มากกว่าเรื่องใด (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2537 : 8)
สมทรง สุวพานิช (2541 : 14-15) กล่าวถึงความสำคัญไว้ว่า วิชาคณิตศาสตร์มีความสำคัญและมีบทบาทต่อบุคคลมาก คณิตศาสตร์ช่วยฝึกให้คนมีความรอบคอบ มีเหตุผลรู้จักหาเหตุผล ความจริงการมีคุณธรรมเช่นนี้อยู่ในใจเป็นสิ่งสำคัญมากกว่าความเจริญทางด้านวิทยาการใด
ๆ นอกจากนั้น เมื่อเด็กคิดและเคยชินต่อการแก้ปัญหาตามวัยไปทุกระยะแล้วเมื่อเป็นผู้ใหญ่ย่อมสามารถแก้ปัญหาชีวิตได้
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 34
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
สมหมาย เปียถนอม
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์ช่างอิเล็กทรอนิกส์ 2
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
สถาบันราชภัฏนครปฐม
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
ศึกษาทบทวนคณิตศาสตร์ทั่วไปที่ใช้ในวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
เลขเชิงซ้อนการแก้สมการด้วยวิธีดีเทอมิแนนต์ เมซเคอเรนต์ โหนดโวลเตจ
ทฤษฏีเทวินิน นอร์ตัน และการใช้งานในการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรง กระแสสลับ
วงจรทรานเซียนต์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นทั่ว ๆ ไป
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
-โครงการตำราวิชาการราชภัฏเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา
6รอบ
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 35
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
ธีระศักดิ์ แสงสัมฤทธิ์
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์เพื่อชีวิต
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
สถาบันราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
ความสำคัญของคณิตศาสตร์มีความสำคัญอย่างมากไม่ว่าจะเป็นการคำนวณ
การวางแผนการทำงานในรูปแบบต่างๆ ล้วนสอดคล้องกับชีวิตประจำวันเป็นอย่างยิ่ง
ผู้เขียนในฐานะที่กำลังศึกษาในสาขาวิชาคณิตศาสตร์และพัฒนาตนเองเพื่อไปสู่กกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียนได้เห็นถึงประโยชน์ของคณิตศาสตร์เพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้อ่าน เมื่อได้อ่านบทความนี้แล้วจะได้เห็นความสำคัญของคณิตศษสตร์
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 36
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
สุวัฒนา เอี่ยมอรพรรณ
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
ความสามารถที่จะนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ
เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เน้นที่ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ คือ การแก้ปัญหา
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น การแสดงเหตุผล
การนำเสนอและการสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์
1. ทักษะและกระบวนการแก้ปัญหา เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนควรจะรู้ ฝึกฝน และการพัฒนาให้เกิดทักษะขึ้นในตัวนักเรียนปัญหาทางคณิตศาสตร์ หมายถึง สถานการณ์ที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ซึ่งเผชิญอยู่และต้องการค้นหาคำตอบโดยที่ยังไม่รู้วิธีการหรือขั้นตอนที่จะได้คำตอบของสถานการณ์นั้นในทันที การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ หมายถึง กระบวนการในการประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์ ขั้นตอน/กระบวนการแก้ปัญหา ยุทธวิธีแก้ปัญหาและประสบการณ์ที่มีอยู่ไปใช้ในการหาคำตอบของปัญหาทางคณิตศาสตร์ รูปแบบกระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา (Polya) |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 37
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
|||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
ตะลุยโจทย์คณิตศาสตร์ ม.2
พื้นฐานและเพิ่มเติม
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
กรุงเทพ : ภูมิบัณฑิต,ม.ม.ป.
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
รวมแบบทดสอบที่สำคัญหลายหลายรูปแบบวิชาคณิตศสาตร์สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัทธยมศึกษาปีที่
2 โดยมีเนื้อหาครอบคลุมในแต่ละบทและมีเฉลยให้ตรวจสอบความถูกต้องด้วยตนเอง
เพื่อให้นักเรียนใช้ในการทบทวนและทำความเข้าใจในเนื้อหาให้มีความแม่นยำมากยิ่งขึ้นเหมาะสำหรับใช้สอบในระดับต่างๆ ได้เป็นอย่างดี
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 38
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
|||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
กุญแจเลข - พีชคณิต มศ.2
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิ่งชิ่ง,2539
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
เพื่อเป็นการช่วยแก้ปัญหาในเรียนการสอนของนักเรียนและครูอาจารย์ให้เป็นไปโดยรวดเร็วและมีผลดี
จึงได้จัดเฉลยโจทย์แบบฝึกหัดชุดคณิตศาสตร์ฉบับของกรมวิชาการ
กระทรวงศึกษาธิการเล่มนี้ขึ้น การเฉลยได้จัดทำอย่างสั้นๆ
มิได้บรรยายไว้อย่างละเอียด แต่ก็ได้ให้ความสมบูรณ์ตามหลักคณิตศาสตร์ทุกข้อ
ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้ได้มีโอกาสฝึกฝนความคิดความชำนาญของตนเองไปด้วย
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 39
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
ดร.บัณฑิต โรจน์อารยานนท์
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คิดเลขไว
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
ส.ส.ท.
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
คิดเลขไว ใครก็ทำได้ เล่มนี้แนะนำเทคนิคการคิดเลขเร็วที่สะดวกสุด ๆ
แม้จะไม่เก่งเลขก็ทำความเข้าใจและนำไปใช้ประโยชน์ได้ค่ะ
โดยอธิบายไว้ครบถ้วนทั้งเทคนิคการบวก ลบ คูณ หรือหาร ที่รวดเร็วและนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน เช่น การท่องสูตรคูณด้วยนิ้วมือ การคิดอัตราดอกเบี้ยทบต้นตอนที่คิดจะลงทุนหรือซื้อประกัน การคำนวณกำไร-ขาดทุนก่อนตัดสินใจซื้อสินค้าหรือหุ้นที่มีราคาขึ้น ๆ ลง ๆ (อันนี้หลาย ๆ คนคงแอบสนใจอยู่แน่ ๆ เลย รวมทั้ง บ.ก. ด้วยค่ะ และนอกจากนี้ยังนำเสนอเรื่องอื่น ๆ ที่ควรรู้เกี่ยวกับตัวเลขและการคำนวณ เช่น การนับจำนวนสิ่งที่อยู่ไกลตัวและมีจำนวนมาก ๆ การประมาณค่า การหาค่าเฉลี่ย การตรวจสอบผลลัพธ์คร่าว ๆ ฯลฯ เป็นหนังสือที่คนไม่ถนัดคิดเลขในใจ และต้องอาศัยเครื่องคิดเลขอยู่ร่ำไปจำเป็นต้องอ่าน!! |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 40
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
|||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
ทฤษฎีจำนวน
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
กรุงเทพฯ : มูลนิธิ สอวน.,2547
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 41
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
ณัฐ อุดมพาณิชย์
|
||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
หัวใจคณิตศาสตร์ PAT
1
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
3 / 2554
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
หนังสือเล่มนี้สรุปเนื้อหาตามหลักสูตรกระทรวงฯ
ตั้งแต่ ม.4 – ม.5 – ม.6
ไว้อย่างครบถ้วน ย่อยทุกสิ่งที่ต้องรู้ทั้งหมดให้ง่ายต่อการดูดซับ
กระชับ...ชัดเจน...เข้าใจง่าย เหมาะสำหรับใช้ทบทวนก่อนสอบ PAT 1 สอบหมดของ กสพท. และสอบตรงทุกสถาบัน พร้อมด้วยแนวข้อสอบใหม่สไตล์ PAT
1 เพื่อวัดความพร้อมก่อนลงสนามสอบจริง
อย่าคิดว่าพร้อม...ถ้ายังไม่ได้อ่านเล่มนี้
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 42
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
|||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
|||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
2010
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
กรุงเทพฯ: สารคดี,
2553 [2010]
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
หนังสือเล่มนี้จะทำให้เราเห็นคณิตศาสตร์ที่ทำหน้าที่เป็นไม้กวาดกายสิทธิ์ให้คนเราโบยบิน
หรือเป็นเวทวิเศษ ร่ายให้เราสามารถสื่อสารกันข้ามโลก
เราจะได้เห็นคณิตศาสตร์ในแสตมป์ ในศิลปะ
ในเหตุการณ์ต่างๆรวมทั้งคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวพันกับเพื่อนสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย
และทันใดนั้นเราจะพบว่าคณิตศาสตร์แฝงเร้นอยู่แทบทุกแง่มุมของชีวิต
อย่างที่เราไม่เคยเห็นมาก่อน
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
พิมพ์ซ้ำกับฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1
2550
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 43
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
|||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์ธุรกิจ (คณิตศาสตร์ธุรกิจ)
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
2526 พิมพ์ครั้งที่ 2
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
สงขลา, ภาควิชาบริหารธุรกิจคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตหาดใหญ่,
2526
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
เป็นวิชาทบทวนความรู้เกี่ยวกับพีชคณิต
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันอดิศัย การอุปนัยทางคณิตศาสตร์ เวกเตอร์ใน 2
และ 3 มิติ เมทริกซ์ และระบบสมการเชิงเส้น
ลำดับอนุกรม ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 44
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
|||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
2525
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
กรุงเทพฯ, แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจคณะบริหารธุรกิจวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาวิทยาเขตพณิชยการพระนคร,
2525
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
นับแต่ได้มีการคิดค้นเครื่องคำนวณอิเล็กทรดนิกส์
(Electronic
Computer) ที่มีความเร็วสูงขึ้นเป็นเครื่องแรกของโลกที่ใช้หลอดสุญญากาศที่เรียน
อินเอด (ENIAC หรือ Electronic Numerical lntegrator and Calulator) ในปี 1946 และด้วยพัฒนาการทางเทคโนโลยีที่ก้าวไปข้างหน้าอย่างไมาหยุดยั้งเป็นผลทำให้เครื่องึอมพิวเตอร์นับวันแต่จะมีขนาดเล็กลง
และด้วยราคาที่ไม่แพงนักทำให้มีผู้สนในที่จะนำเอาคอมพิวเตอร์มาเป็นเครื่องช่วยในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์
คอมพิวเตอร์ที่นำใช้ทางการเรียนการสอนในประเทศแถบทวีปเมริกาเหนือ
เช่นแคนาดา สหรัฐอเมริกา และทวีปยุโรป เช่น อังกฤษ เป็นต้น
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 45
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
|||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์ประชากรของประชากร
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
2525
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
กรุงเทพฯ:
ภาควิชาคณิตศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคำแหง,
2525
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
ปัจจุบันเรามักได้ยินคำว่า "โพล" หรือการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนด้านต่าง
ๆ ลองนึกดูว่า ประชากรไทยมีทั้งสิ้น 60 ล้านคน ถ้าต้องสำรวจความคิดเห็นของคนทั้ง 60 ล้านคน โดยการสอบถามหรือส่งแบบสอบถามไป คงเป็นไปไม่ได้ แต่จะใช้วิธีการสุ่ม ซึ่งหลายต่อหลายครั้งเราจะเห็นว่า โพลแต่ละโพล สำรวจความคิดเห็นเพียงจำนวนร้อยและพัน ซึ่งสามารถสอบถามได้เร็ว สรุปผลได้ทันกับความต้องการ แต่ผลที่ได้จะมีความน่าเชื่อถือได้เพียงไร ใช้แทนประชากรทั้งกลุ่มได้หรือไม่ ปัญหานี้คงอยู่ในความคิด แต่ก็เห็นได้ว่าการดำเนินการในลักษณะนั้นสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 46
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
|||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์เต็มหน่วย
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
2537
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
[กรุงเทพฯ]:
ภาควิชาคณิตศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2537
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
เซต ตรรกศาสตร์ ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
การนับและความสัมพันธ์เวียนเกิด (Recurrence Relations) ทฤษฎีกราฟ ต้นไม้ และการแยกจำพวก (Tree and Sorting) ข่ายงาน (Network) ระบบเชิงพีชคณิต (Algebraic
System)
-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวคณิตศาสตร์ (Introduction
to mathematics)
-เซต (Set) -ตรรกศาสตร์ (logic) -ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน (Relation and function) -การนับและความสัมพันธ์เวียนเกิด (Recurrence relations) -กราฟ (Graphs) -ต้นไม้ และการแยกจำพวก (Tree and sorting) -ข่ายงาน (Network) -พีชคณิตบูลีน (Boolean algebra) |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 47
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
|||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตศาสตร์ขั้นสูง
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
2532
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2532
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
คณิตศาสตร์ชั้นสูงเป็นคณิตศาสตร์ที่
ใช้เป็นเครื่องมือ(Tool)สำหรับ 2 สิ่งคือ
1. ช่วยในการทำงานให้ง่ายขึ้น,โดยการแปลงรูป{เปลี่ยนตัวกระทำการ(operator)}เช่น Laplace transform เปลี่ยน differtial equation ให้เป็น Linear algebra 2. พยายามอธิบายความหมายที่แท้จริง(physical meaning) ของธรรมชาติต่างๆ เช่น differential equation อธิบายเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ของตัวแปรที่เปลี่ยนแปลงไปพร้อมกัน Feedback control อธิบายเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ของตัวแปร ที่เป็นองค์ประกอบของระบบ,input,process,out put,feedback function |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 48
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
|||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
พืชคณิตเชิงเส้น
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์,
2523
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
พีชคณิตเชิงเส้น เป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์ที่ศึกษาเวกเตอร์ ปริภูมิเวกเตอร์ (หรืออีกชื่อหนึ่งคือ ปริภูมิเชิงเส้น) การแปลงเชิงเส้น และระบบสมการเชิงเส้น ปริภูมิเวกเตอร์เป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจอย่างมากในคณิตศาสตร์สมัยใหม่
เนื่องจากพีชคณิตเชิงเส้นถูกนำไปใช้อย่างกว้างขวางในคณิตศาสตร์สองสายหลักคือ พีชคณิตนามธรรมและการวิเคราะห์เชิงฟังก์ชัน พีชคณิตเชิงเส้นนั้นมีรูปแบบที่ชัดเจนในเรขาคณิตวิเคราะห์ และถูกขยายให้กว้างขึ้นในทฤษฎีตัวดำเนินการ และมีการประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลายในวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์
เนื่องจากแบบจำลองไม่เชิงเส้น (nonlinear model) ส่วนมากสามารถประมาณการณ์ได้ด้วยแบบจำลองเชิงเส้น (linear model)
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 49
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
|||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
เรขาคณิตโพรเจคทีฟ
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
กรุงเทพฯ: โอเดียนสแควร์ 2538
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
บทที่ 1 เรขาคณิตโพรเจกทีฟ
บทที่ 2 ครอสเรโช บทที่ 3 ทฤษฎีบทสามเหลี่ยมสองรูปของเดสาร์ก บทที่ 4 ฮาร์มอนิกเซต บทที่ 5 โพรเจกติวิติ บทที่ 6 อินโวลูชัน บทที่ 7 จุดโคนิกและเส้นโคนิก บทที่ 8 เรขาคณิตโพรเจกทีฟวิเคราะห์ |
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
||||||||||||||||||
ลำดับที่ 50
|
|||||||||||||||||||
ชื่อผู้แต่ง
|
|||||||||||||||||||
ชื่อหนังสือ
|
คณิตเศรษฐศาสตร์
|
||||||||||||||||||
วัน/เดือน/ปี
|
|
||||||||||||||||||
ประเภท
|
หนังสือ
|
||||||||||||||||||
สำนักพิมพ์
|
กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมอบให้พิมพ์จำหน่ายที่ไทยวัฒนาพานิช,
2516
|
||||||||||||||||||
เนื้อหาย่อย
|
หนังสือเล่มนี้นำเสนอและประยุกต์เครื่องมือและวิธีการทางคณิตศาสตร์ไปในการอธิบายและวิเคราะห์ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์เหมาะสำหรับผู้อ่านที่เริ่มศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์เพราะจะช่วยให้ศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นจึงเหมาะอย่างยิ่งกับผู้ที่กำลังศึกษาในระดับปริญญาตรีที่ต้องศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
เพราะจะให้ความรู้ในวิธีการอ่านกราฟและฟังก์ชั่นการหาดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาดเรียนรู้วิธีการตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุดของผู้บริโภคและผู้ผลิต
|
||||||||||||||||||
หมายเหตุ
|
|
การจัดระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา
วันศุกร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2556
หนังสือคณิตศาสตร์ 50 เล่ม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)